วันพุธ, ธันวาคม 4, 2024
Google search engine
หน้าแรกข่าวการศึกษาเรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่

เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่

advertisement

เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่

สวัสดีค่ะวันนี้ทีมงาน ครูคูลดอทคอม มีเรื่องราวเกี่ยวกับ เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่ มาให้ทุกท่านได้ติดตาม โดยมีรายละเอียด ดังนี้ค่ะ

advertisement

เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่

เรื่องราวที่เกี่ยวข้อง กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างกระทู้ธรรม ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก เรียงความแก้กระทู้ธรรม 66 ดาวน์โหลด คลิกที่นี่

advertisement

เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่

advertisement

เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่
เรียงความ แก้กระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นเอก คลิกที่นี่

การเรียงความแก้กระทู้ธรรม เป็นการแสดงออกซึ่งความรู้ ความเข้าใจ ความคิด และความรู้สึก ของผู้เขียนซึ่งได้มาจากการศึกษาวิชาธรรมะ พุทธะ และเบญจศีลเบญจธรรม ว่าสามารถจะถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด และความรู้สึกออกไปสู่ผู้อื่นได้ดีหรือไม่
การเรียนรู้วิชาธรรมะ พุทธะ และเบญจศีลเบญจธรรม เปรียบเหมือนนักเรียนไปเก็บเอาดอกไม้ที่ต่างสี ต่างขนาด มากองรวมกันไว้ ส่วนการเรียงความแก้กระทู้ธรรม เปรียบเหมือนนักเรียนคัดเอาดอกไม้เหล่านั้นมาปักแจกัน จะทำได้สวยงามแค่ไหน ก็ขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคน ที่จะแต่งอย่างไร
ตามหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา การเขียนหรือการพูดที่จัดว่าดีนั้น ต้องเกิดประโยชน์แก่ผู้อ่านหรือผู้ฟัง ๔ ประการ คือ ๑. ได้ความรู้ความเข้าใจ ๒. เกิดความเลื่อมใสใคร่ปฏิบัติตาม ๓. กล้าทำความดี ๔. มีความบันเทิงใจ ไม่เบื่อหน่าย

advertisement

  1. ผู้อ่านหรือผู้ฟังจะได้รับความรู้ ความเข้าใจนั้น ผู้เขียนและผู้พูดจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนั้นเป็นอย่างดีเสียก่อน สรุป สั้น ๆ คือ จำได้ เข้าใจชัด ปฏิบัติถูกต้อง
  2. ผู้อ่านหรือผู้ฟัง จะเกิดความเลื่อมใส ใคร่ปฏิบัติตาม ผู้เขียนหรือผู้พูดจะต้องชี้แจงให้เห็นโทษของการไม่ปฏิบัติอย่างนั้นว่า ไม่ดีอย่างไร
  3. ผู้อ่านหรือผู้ฟังจะกล้าทำความดี ผู้เขียนหรือผู้พูด จะต้องชี้แจงให้เห็นคุณค่าหรือประโยชน์ของการปฏิบัติอย่างนั้นว่า ดีอย่างไร
  4. ผู้อ่านหรือผู้ฟัง จะมีความบันเทิงใจ ไม่เบื่อหน่าย ก็เพราะได้รับความรู้ความเข้าใจ เห็นโทษของการไม่ปฏิบัติ และเห็นคุณประโยชน์ของการปฏิบัตินั้น ๆ นั่นเอง

ฉะนั้น วิชากระทู้ธรรมจึงเป็นวิชาที่สำคัญ น่าศึกษาวิชาหนึ่ง เพราะเป็นการเอาวิชาที่เรียนแล้วมาประติดประต่อให้ได้ใจความสอดคล้องกับกระทู้ธรรมตามที่สนามหลวงออกมา เป็นการแสดงให้เห็นถึงความรู้ ความเข้าใจ ความคิดและความรู้สึกที่แท้จริงของผู้เขียน และเป็นเหตุให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิด และความรู้สึกแก่ผู้อื่นด้วย นักเรียนจึงควรเอาใจใส่ฝึกคิด ฝึกเขียน ฝึกพูดบ่อย ๆ จะ ได้เป็นคนดีมีความสามารถ โปรดนึกถึง พุทธภาษิตบทหนึ่งอยู่เสมอว่า ทนฺโต เสฏฺโฐมนุสฺเสสุ ผู้ฝึกฝนตน (อยู่เสมอ) เป็นผู้ประเสริฐที่สุดในมวลมนุษย์
หลักเกณฑ์การแต่งกระทู้

ผู้จะแต่งกระทู้ จำเป็นจะต้องทราบหลักเกณฑ์ในการแต่งกระทู้ก่อน หลักเกณฑ์ในการแต่งกระทู้นั้น ผู้ศึกษาพึงทราบตามที่สนามหลวงแผนกธรรมได้วางเป็นหลักเอาไว้ดังข้อความว่า
แต่งอธิบายให้สมเหตุสมผล อ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบด้วย ๑ ข้อ และบอกชื่อคัมภีร์ที่มาแห่งสุภาษิตนั้นด้วย สุภาษิตที่อ้างมานั้น ต้องเรียงเชื่อมความให้สนิทติดต่อ สมกับกระทู้ตั้ง
ชั้นนี้ (ธรรมศึกษาชั้นตรี) กำหนดให้เขียนลงในใบตอบ ตั้งแต่ ๒ หน้า (เว้นบรรทัด) ขึ้นไป

ดาวน์โหลดกระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างกระทู้ธรรม ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก เรียงความแก้กระทู้ธรรม 66 ลิงก์ที่หนึ่ง

ดาวน์โหลดกระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างกระทู้ธรรม ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก เรียงความแก้กระทู้ธรรม 66 ลิงก์ที่สอง

ดาวน์โหลดกระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างกระทู้ธรรม ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก เรียงความแก้กระทู้ธรรม 66 ลิงก์ที่สาม

ดาวน์โหลดกระทู้ธรรมชั้นเอก 2566 ตัวอย่างกระทู้ธรรม ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก เรียงความแก้กระทู้ธรรม 66 เพิ่มเติม คลิกที่นี่

วิธีการแต่งกระทู้

เมื่อทราบหลักเกณฑ์การแต่งกระทู้โดยย่อแล้ว ต่อไปควรทราบวิธีการแต่ง วิธีการแต่งกระทู้มีองค์ประกอบใหญ่ ๆ ๓ อย่าง คือ
1. คำเริ่มต้น ได้แก่คำว่า บัดนี้ จักอธิบายขยายความธรรมภาษิต ที่ได้ยกขึ้นนิกเขปบท เพื่อเป็นแนวทางแห่งการศึกษา และปฏิบัติธรรมตามสมควรแก่เวลา หรืออื่นใดตามที่เหมาะสม
2. คำขยายความ คืออธิบายเนื้อความแห่งธรรมภาษิต ซึ่งเป็นกระทู้ปัญหา พร้อมทั้งอ้างสุภาษิตอื่นมาประกอบอย่างน้อย 1 ข้อ พร้อมทั้งบอกที่มาให้ถูกต้อง
3. คำลงท้าย คือ สรุปเนื้อความที่ได้อธิบายมาแล้วโดยย่ออีกครั้งหนึ่ง ให้สอดคล้องกับกระทู้ปัญหา จบลงด้วยคำว่า สมกับธรรมภาษิตว่า……….หรือ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า………. ตามความเหมาะสม (ช่องว่างที่เว้นไว้หมายถึง กระทู้ปัญหาพร้อมทั้งคำแปล)

8 ขั้นตอนการเขียนกระทู้ธรรมตรี
การแต่งกระทู้ธรรมชั้นตรี จะมีขั้นตอนหลักๆ อยู่ ๘ ขั้นตอนใหญ่ จะเห็นว่ามีตัวเลขกำกับอยู่ด้านหน้า หมายถึงขั้นตอนที่ต้องเขียนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เขียน “สุภาษิตบทตั้งพร้อมคำแปล” เป็นสุภาษิตที่สนามหลวงกำให้เป็นโจทย์ ต้องเขียนไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ
ขั้นตอนที่ 2 ย่อหน้าเขียน คำนำหรืออารัมภบท คือเขียนคำว่า “บัดนี้ จักได้ …สืบต่อไป”
ขั้นตอนที่ 3 ย่อหน้าเขียน อธิบายเนื้อความสุภาษิตบทตั้ง ประมาณ 8-15 บรรทัด จากนั้นต่อด้วยคำ “สมดังสุภาษิต ที่มาใน …ว่า” เช่น “สมดังสุภาษิตที่มาใน ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท ว่า” ต้องปิดด้วยคำว่า “ว่า” เสมอ เป็นการบอกที่มาของสุภาษิตเชื่อมก่อนจะเขียนในขั้นที่ 4
ขั้นตอนที่ 4 เขียน สุภาษิตเชื่อมพร้อมคำแปล เป็นสุภาษิตที่เราจำมาเอง ให้อยู่กึ่งกลางและตรงกับสุภาษิตบทตั้งด้วย
ขั้นตอนที่ 5 ย่อหน้าเขียน อธิบายเนื้อความสุภาษิตเชื่อม ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด
ขั้นตอนที่ 6 ย่อหน้าเขียน สรุปความกระทู้ธรรม ให้ได้ใจความสาระสำคัญ ประมาณ ๕-๖ บรรทัด เมื่อสรุปเสร็จแล้ว ต้องเขียนต่อด้วยคำว่า “สมดังสุภาษิตที่ยกขึ้นเป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า
ขั้นตอนที่ 7 ให้ยกสุภาษิตบทตั้งพร้อมคำแปล มาเขียนปิดอีกครั้งหนึ่ง และจะต้องเขียนให้อยู่กึ่งกลางตรงกันพอกับสุภาษิตเชื่อม
ขั้นตอนที่ 8 บรรทัดสุดท้ายเขียนคำว่า “มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้” เพื่อปิดการเขียนเรียงแก้กระทู้ธรรมทั้งหมด

สำคัญ : ตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 จนถึง 8 ต้องเขียน “เว้นบรรทัดทุกบรรทัด”

RELATED ARTICLES
- Advertisment -
Google search engine

Most Popular

Recent Comments